หน้าต่อไป:
ไฟฟ้ากระแสสลับ(AC)
ไฟฟ้ากระแสตรง(DC)
และสัญญาณไฟฟ้า
ควรดู: แรงดันและกระแส
| ความต้านทาน | กฎของโอห์ม
กำลัง = | พลังงาน | กำลังมีหน่วยวัดเป็นวัตต์
(W) พลังงานมีหน่วยวัดเป็นจูล (J) เวลามีหน่วยวัดเป็นวินาที (s) |
|
เวลา |
อิเล็กทรอนิกส์โดยส่วนมากจะใช้กำลังน้อย ดังนั้นหน่วยวัดกำลังที่ใช้จะเป็นมิลลิวัตต์ (mW) 1mW = 0.001W ตัวอย่างเช่น LED ใช้กำลังประมาณ 40mW และบลีบเปอร์ใช้ประมาณ 100mW แม้แต่หลอดไฟฉายก็ใช้ไฟเพียงประมาณ 1W
สำหรับในวงจรไฟฟ้าหลัก(mains)มักใช้กำลังที่สูงกว่า ดังนั้นหน่วยกำลังที่ใช้วัดจะเป็นกิโลวัตต์ (kW) 1kW = 1000W ตัวอย่างเช่น หลอดไฟบ้านใช้ไฟ 60W และกาต้มน้ำไฟฟ้าใช้ประมาณ 3kW
กำลัง = กระแส × แรงดัน ดังนั้น P = I × V | หรือ |
|
หรือ |
|
ในเมื่อ | P =
กำลังมีหน่วยเป็นวัตต์ (W) V = แรงดันมีหน่วยเป็นโวลท์ (V) I = กระแสมีหน่วยเป็นแอมป์ (A) |
หรือ | P = กำลังมีหน่วยเป็นมิลลิวัตต์
(mW) V = แรงดันมีหน่วยเป็นโวลท์ (V) I = กระแสมีหน่วยเป็นมิลลิแอมป์ (mA) |
P
I V |
P
I² R |
V²
P R |
|
สามเหลี่ยม PI²R |
สามเหลี่ยม V²PR |
P = I² × R หรือ P = V² / R |
ในเมื่อ | P =
กำลังมีหน่วยเป็นวัตต์ (W) I = กระแสมีหน่วยเป็นแอมป์ (A) R = ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม () V = แรงดันมีหน่วยเป็นโวลท์ (V) |
เราจะเห็นว่าจากสมการ P = I² × R หากกำหนดค่าความต้านทานไว้ที่ค่าหนึ่ง กำลังจะขึ้นอยู่กับค่ากระแสยกกำลังสอง ดังนั้นถ้ากระแสเพิ่มสองเท่าจะทำให้กำลังเพิ่มเป็นสี่เท่า
วัตต์ของตัวต้านทาน คืออัตรากำลังสูงสุดที่ตัวต้านทานทนได้โดยไม่เสียหาย อัตรามาตรฐานของตัวต้านทานที่ใช้กับวงจรอิเล็กทรอนิกส์โดยส่วนใหญ่คือ 0.25W หรือ 0.5W รายละเอียดหาดูได้ที่หน้า ตัวต้านทาน
แต่สำหรับสายและเคเบิล จะระบุถึงอัตรากระแสสูงสุดที่กระแสสามารถไหลผ่านได้โดยไม่ร้อน ปกติสายจะมีความต้านทานต่ำจึงทำให้ค่ากระแสสูงสุดมีได้สูง สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับอัตรา ของกระแสในสาย กรุณาดูที่หน้า ตัวต่อและเคเบิล
พลังงาน = กำลัง × เวลา |
อุปกรณ์ที่ใช้กำลังต่ำแต่ถ้าใช้เวลาทำงานนานก็สามารถใช้พลังงานมากกว่าอุปกรณ์ที่ใช้กำลังสูงแต่ทำงานช่วงสั้นๆ ดังตัวอย่าง
1kWh = 1kW × 1 ชั่วโมง = 1000W × 3600วินาที = 3.6MJ
เช่นตัวอย่าง